1/3/08

PHATADVALLEY HOTEL


PHATADVALLEY HOTEL is a hideaway boutique hotel located just 200 km from Bangkok in Kanchanaburi, where we value the notion of natural remedial power. Surround by nature, the hotel is one of a kind with its unrivalledhospitality and natural hot spring. It is a place to relax and unwind, we will let you experience the real natural of environment.
โรงแรมผาตาดวัลเล่ย์ เป็นโรงแรมหรูระดับ 4 ดาว ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพประมาณ 200 กิโลเมตร ซึ่งอยู่ท่ามกลางธรรรมชาติ อีกทั้งยังมีน้ำพุร้อนหินดาดและน้ำตกผาตาดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก





Hin Dad Hot Spring formerly known as Kuimang Hot Spring, located 130 km. from Kanchanaburi between Km. 105 – 106 on Highway 323. It is a well of natural hot water of 45 – 55 degrees Celsius discovered beside a stream of cool water by Japanese troops during WWII and two cement wells were then constructed at the site. It is believed that the water from this hot spring has a healing property for various ailments such as beriberi and rheumatism. A hot spring bath in the well is available.
น้ำพุร้อนหินดาด เดิมเรียกว่าน้ำพุร้อนกุยมั่ง การเดินทางสามารถเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 323 กิโลเมตรที่ 105–106 อยู่ห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรี 135 กิโลเมตร พุน้ำร้อนหินดาด เป็นบ่อน้ำร้อนธรรมชาติริมลำธาร ค้นพบโดยทหารญี่ปุ่น และได้สร้างเป็นบ่อซีเมนต์ เชื่อกันว่าน้ำแร่จากบ่อน้ำร้อนแห่งนี้ มีสรรพคุณในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บหลายอย่าง เช่น โรคเหน็บชา ไขข้ออักเสบ อัมพฤกษ์ อัมพาต นักท่องเที่ยวสามารถลงอาบน้ำในบ่อได้





Pha Tat Waterfall (Namtok Pha Tat) A large waterfall within the area of Khuean Srinagarindra National Park located 140 km. from Kanchanaburi. The picturesque 3–tiered waterfall originates from a small creek on the Kala Range. Each of its 3 tiers is wide and breathtakingly high, with a lot of water in the late rainy season. It has serene and verdant surroundings. To get there, take Highway 323 and turn between Km. 105 – 106 toward the same direction as Hin Dat Hot Spring and continue for some 10 km. further.
น้ำตกผาตาด เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ เกิดจากลำห้วยเล็กๆบริเวณ เทือกเขากะลา น้ำตก ผาตาดเป็นน้ำตกที่มีความสวยงามมีชั้นน้ำตกลดหลั่นกันไปถึง 3 ชั้น แต่ละชั้นมี ความกว้างความสูงที่ตระการตา และมีน้ำมาก ในช่วงปลายฤดูฝน การเดินทางไปน้ำตก สามารถเดินทาง โดยใช้ทางหลวงหมายเลข 323 ช่วงกิโลเมตรที่ 105–106 โดยเลี้ยว เข้าทางเดียวกับพุน้ำร้อนหินดาด และอยู่เลยจาก พุน้ำร้อนหินดาดเข้าไปประมาณ 8 กิโลเมตร





Vajiralongkorn Dam (Formerly Khao Laem Dam)This is a key project of Mae Klong River Basin Development Scheme. The construction started in 1979 and finished in 1984. It is located on the Kwai Noi River at thong Pha Phum District, about 280 kms from Bangkok.
เขื่อนวชิราลงกรณ์(เขื่อนเขาแหลม) ตั้งอยู่ที่ตำบลท่าขนุน สามารถเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 323 เหนืออำเภอทองผาภูมิไปประมาณ 6 กิโลเมตร เขื่อนวชิราลงกรณเป็นเขื่อนหินถมดาดหน้าด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 92 เมตร สันเขื่อนกว้าง 10 เมตร ยาว 1,019 กั้นลำน้ำแควน้อย เป็นเขื่อนเอนกประสงค์ มีความสวยงามตามธรรมชาติเหมาะสำหรับการล่องเรือชมทิวทัศน์สภาพธรรมชาติของอ่างเก็บน้ำ





The Bridge on the River Khwae (the Death Railway Bridge) The bridge spans across Maenam Khwae Yai which is a branch of Maenam Mae Klong. During the Japanese occupation of Thailand in World War II, the Japanese Imperial Army brought the iron bridge from Java. It was then resembled by Allied Prisoners of War (POW) under Japanese supervision. The bridge was part of a strategic railway route to Myanmar in which the Japanese aimed to secure supplies with which to conquer other western Asian countries. It was 415 kilometers long (about 303 kilometers in Thailand and about 112 kilometers in Burma) and passed through the Three Pagoda Pass in Sangkhlaburi District, the northern most part of Kanchanaburi province.
สะพานข้ามแมน้ำแคว เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ, อเมริกัน, ออสเตรเลีย และฮอลันดา จำนวนมากมาสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ผ่านประเทศพม่า ซึ่งมีส่วนหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่ การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้เป็นไปด้วยความยากลำบาก เพราะความทารุณของสงครามและโรคภัย ตลอดจนขาดสารอาหาร ทำให้เชลยศึกจำนวนหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง